ประเภทสินค้า
21 October 2021
สถิติการชม : 649 ครั้ง
21 October 2021
 
 

Public Training   พร้อมรับวุฒิบัตรฟรี

 

Online by Zoom   :  หลักสูตร เทคนิค...การเจรจาต่อรองข้อเรียงร้องของสหภาพแรงงาน 

ให้คำปรึกษาผู้เข้าร่วมสัมมนา หลังการสัมมนา “ ฟรี ” ตลอดกาลไม่มีค่าใช้จ่าย

  


 

** เตรียมรับมือกับโควิด ปัจจุบัน **

                

     

วันที่  21  ตุลาคม   2564  เวลา 13.00-17.00  น.  (4 ชม.)

 


วิทยากร  อาจารย์สมบัติ  น้อยหว้า

 

พิเศษ เพียงท่านละ  1,900  บาท สมัคร 4 จ่ายแค่ 3 ท่านเท่านั้น +++


 

วัตถุประสงค์


1. เพื่อให้ผู้บริหาร ผู้แทนในการเจรจาข้อเรียกร้องทราบถึงสิทธิ ของนายจ้าง สิทธิของลูกจ้าง ในกรณี ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง

ร้องขอให้มีการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้าง การปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ. ศ. 2518

ต้องดำเนินการอย่างไร..

 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ที่ได้รับปฏิบัติได้จริงต่อการนำเสนอ นโยบาย การเรียนรู้เทคนิคในการเจรจาต่อรอง

ข้อเรียกร้อง กรณีสหภาพแรงงานยื่นข้อเรียกร้องต่อนายจ้าง หรือนายจ้างยื่นข้อเรียกร้องสวน เพื่อขอเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้าง

ใช้หลักการเจรจาอย่างไร..ให้ตกลงกันได้ภายในองค์กร และทราบถึงการ จัดทำบันทึกข้อตกลงข้อเรียกร้องที่นายจ้างและ

สหภาพฯจัดทำขึ้นเพื่อแจ้งต่อหน่วยงานภาครัฐ ต้องกำหนดข้อความให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับสิทธิอย่างไร...                                                                                                                                                                                                                              

3. เพื่อให้นายจ้างผู้บริหารทราบถึง ในระหว่างข้อตกลงมีผลบังคับใช้ ในกรณีนายจ้างประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างร้ายแรง

จนเป็นเหตุให้นายจ้างไม่สามารถ จ่ายสวัสดิการ หรือปฏิบัติตามข้อตกลงได้ แนวทางการแก้ปัญหาที่ดี ต้องปฏิบัติ

และดำเนินการอย่างไร...

 

 

หัวข้อในการอบรม 


           หมวด 1: การเขียนข้อเรียกร้อง, การเจรจาต่อรองและบันทึกข้อตกลง

1. กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ให้สิทธินายจ้างกรณีจัดตั้ง เป็นองค์กร และมีฐานะเป็นนิติบุคคลมีกรณีอะไรบ้าง..? 

    ยกตัวอย่าง : การจัดตั้ง สหพันธ์นายจ้าง สภาองค์การนายจ้าง  พร้อมคำอธิบาย                                                                                                  

2. กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ให้สิทธิลูกจ้าง กรณีจัดตั้ง เป็นองค์กร และมีฐานะเป็นนิติบุคคลมีกรณีใดบ้าง..?                                                             

ยกตัวอย่าง : การจัดตั้งสหภาพแรงงาน จัดตั้งสหพันธ์แรงงาน และจัดตั้งสภาองค์การลูกจ้างแรงงาน  พร้อมคำอธิบาย                                             

3. สหภาพแรงงาน ยื่นข้อเรียกร้องต่อนายจ้าง เพื่อขอเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้าง จะกระทำได้เมื่อใด.. และมีขอบเขต

ในการกำหนดข้อเรียกร้อง ตามกฎหมายหรือไม่... เพราะอะไร?                                                                                                                                         

ยกตัวอย่าง : การยื่นข้อเรียกร้อง การกำหนดข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงาน  พร้อมคำอธิบาย                                                               

4. กรณีนายจ้างมีนโยบายยื่นข้อเรียกร้องสวนต่อสหภาพแรงงาน เพื่อขอเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างเดิมที่มีอยู่ หรือเพื่อ

ขอเปลี่ยนแปลงข้อเรียกร้องที่สหภาพแรงงานยื่นเข้ามาใหม่จะกระทำได้เมื่อใด..และมีขอบเขตในการกำหนดข้อเรียกร้อง

ตามกฎหมายหรือไม่..เพราะอะไร..?                                                                                                                                                                             

มีตัวอย่าง : การกำหนดข้อเรียกร้องเพื่อยื่นสวนต่อสหภาพแรงงาน แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา  พร้อมคำอธิบาย                                         

5. การกำหนดตัวแทน ในการเจรจาข้อเรียกร้องของฝ่ายนายจ้าง พิจารณาจากคุณสมบัติอะไรบ้าง..?                      

 ยกตัวอย่าง : การพิจารณาจากตำแหน่งงาน ความพร้อมด้านต่างๆ  พร้อมคำอธิบาย                                                                                 

6. การกำหนดที่ปรึกษา ในการเจรจาข้อเรียกร้องของฝ่ายนายจ้าง มีขอบเขตในการกำหนด และต้องมีคุณสมบัติตามกฎหมาย

อะไรบ้าง..?                                                                                                                                                                                                     

ยกตัวอย่าง : การพิจารณาเพื่อกำหนดคุณสมบัติ ตามกฎหมาย พร้อมคำอธิบาย                                                                                       

7. เมื่อมีนายจ้างหรือสหภาพแรงงานยื่นข้อเรียกร้องต่อกัน และได้มีการเจรจากันครั้งหนึ่งแล้ว การเลื่อนเจรจากันในครั้งต่อไป

จะเลื่อนได้กี่ครั้ง แต่ละครั้งต้องห่างกัน กี่วัน มีบทบัญญัติไว้ตามลงกฎหมายหรือไม่..เพราะอะไร..?                                                              

 ยกตัวอย่าง :  การรับข้อเรียกร้อง การเจรจากันครั้งแรก การกำหนดวันในครั้งต่อไป  พร้อมคำอธิบาย 

8. เทคนิคในการเจรจาข้อเรียกร้องของผู้แทนฝ่ายนายจ้างและการนำเสนอ นโยบายเพื่อให้มีการเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้าง

ต้องวางกลยุทธ์อย่างไร...ถึงจะทำให้การเจรจาข้อเรียกร้องต่อสหภาพแรงงานตกลงกันได้ในองค์กรด้วย                                                           

ยกตัวอย่าง :  การนำเสนอเหตุผลข้อเรียกร้องในแต่ละข้อที่จะขอให้มีการเปลี่ยนแปลง พร้อมคำอธิบาย                                               

9.  เทคนิคในการเจรจา กรณีกำหนดให้จ่ายเงินโบนัสประจำปี ต้องเสนอเงื่อนไขให้ผู้มีสิทธิจะได้รับอย่างไร..?                     

 ยกตัวอย่าง :  การนำเสนอ ให้ได้รับสิทธิ มากกว่ากำหนด และให้ได้รับน้อยกว่ากำหนด  พร้อมคำอธิบาย                                               

10. การนำเสนอข้อเรียกร้องที่ตกลงกันให้มีผลบังคับใช้ และมีระยะเวลา 3 ปี จะเกิดผลดีต่อองค์กร อะไรบ้าง..?                                                

ยกตัวอย่าง :  การให้เหตุผล ข้อตกลงที่กำหนดเป็น 1 ปี แตกต่างจาก 3 ปี พร้อมคำอธิบาย                                                                     

11.  การจัดทำบันทึกข้อตกลงข้อเรียกร้องของนายจ้างกับสหภาพแรงงาน เพื่อนำไปจดทะเบียนต่อหน่วยงานภาครัฐ

เพื่อให้เป็นสภาพการจ้าง ต้องกำหนดข้อความให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับสิทธิอย่างไร..?                                                                                       

 มีตัวอย่าง : การจัดทำบันทึกข้อตกลง และการกำหนดสิทธิหรือเงื่อนไขการได้รับสิทธิ  แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา  พร้อมคำอธิบาย         

12 . เมื่อเจรจาข้อเรียกร้องกับสหภาพแรงงานและตกลงกันได้แล้ว ในระหว่างที่จัดทำเอกสาร ก่อนที่จะนำไปจดทะเบียน

ต่อหน่วยงานภาครัฐ ในกรณี มีสมาชิกของสหภาพแรงงานไม่เห็นด้วยในข้อตกลงและคัดค้านรวมตัวกันชุมนุมก่อม็อบ

ทำได้หรือไม่.เพราะอะไร..?     

ยกตัวอย่าง :  การแก้ปัญหาของผู้แทนฝ่ายนายจ้าง และการทำหน้าที่ของผู้แทนสหภาพแรงงาน  พร้อมคำอธิบาย                               

13. ในกรณีนายจ้างเจรจาข้อเรียกร้องกับสหภาพแรงงานแล้วไม่สามารถตกลงกันได้ กระบวนการแจ้งประนอมข้อพิพาทแรงงาน

ต่อหน่วยงานภาครัฐ ต้องดำเนินการอย่างไร..?                                                                                                                             

 ยกตัวอย่าง :  การจัดทำเอกสาร และขั้นตอนในการแจ้งประนอมข้อพิพาทแรงงาน  พร้อมคำอธิบาย                                                         

14 . เมื่อมีการเจรจาข้อเรียกร้องระหว่างผู้แทนฝ่ายนายจ้างกับสหภาพแรงงานแล้ว กรณีไม่สามารถตกลงกันได้

นายจ้างมีสิทธิที่จะปิดงานหรือสหภาพแรงงานมีสิทธิที่จะชุมนุมนัดหยุดงาน ต้องปฏิบัติตามกฎหมายอย่างไร..?                                                                             

 

ยกตัวอย่าง :  การปฏิบัติตาม ขั้นตอนของสิทธิตามกฎหมาย  พร้อมคำอธิบาย                                                                                         

15. กรณีองค์กรมีสหภาพแรงงาน 2 สภาพแรงงาน เช่น สหภาพแรงงานผู้บังคับบัญชา และสหภาพแรงงานระดับปฏิบัติการ

นายจ้างต้องปฏิบัติต่อ สหภาพแรงงานทั้ง 2 แห่งอย่างไร..?                                                                                                     

 ยกตัวอย่าง :  การยื่นข้อเรียกร้อง การเจรจา การบันทึกข้อตกลง การบังคับใช้ข้อตกลง  พร้อมคำอธิบาย                                               

16.  ในระหว่าง ข้อตกลงมีผลบังคับใช้ นายจ้างต้องปฏิบัติต่อผู้เกี่ยวข้องและสมาชิกของสหภาพแรงงานอย่างไร..?                                                                  

ยกตัวอย่าง : การจ่ายสวัสดิการ และการลงโทษทางวินัย หรือการเลื่อน ลด ปลด ย้าย สมาชิกของสหภาพแรงงาน 

พร้อมคำอธิบาย       

17. ในระหว่าง ข้อตกลงมีผลบังคับใช้ กรณีนายจ้างเพิกเฉยไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง และไม่มีเหตุอันสมควร การเรียกร้องสิทธิ

ของผู้มีสิทธิที่จะได้รับสวัสดิการตามที่ตกลงกันไว้จะร้องทุกข์ ได้ที่ไหนบ้าง..?                                                                      

 ยกตัวอย่าง :  การเรียกร้องสิทธิ ทางกฎหมายต่อหน่วยงานภาครัฐ  พร้อมคำอธิบาย                                                                               

18. ในระหว่างข้อตกลงมีผลบังคับใช้ กรณีบริษัทฯประสบปัญหาทางเศรษฐกิจสาเหตุจากโรคระบาด หรือเกิดภัยพิบัติ

ทางธรรมชาติจนเป็นเหตุให้ได้รับความเสียหายร้ายแรง นายจ้างไม่สามารถจ่ายสวัสดิการให้กับลูกจ้างตามที่ได้ตกลงกันไว้

นายจ้างต้องปฏิบัติอย่างไร..?                                                                                                                                                                                                   

ยกตัวอย่าง : การแก้ปัญหาที่ดี เพื่อระงับ หรือ งด การจ่ายสวัสดิการและการบังคับใช้  พร้อมคำอธิบาย                                                  

19. กรณีบริษัทฯ มีโรงงานหลายแห่งซึ่งอยู่ตามสาขา ตั้งอยู่ห่างไกลกัน และเป็นชื่อบริษัทฯเดียวกัน ลูกจ้างมีสิทธิตั้ง

สหภาพแรงงานของแต่ละที่ที่อยู่ตามสาขาได้หรือไม่..กฎหมายให้สิทธิลูกจ้างหรือไม่.. เพราะอะไร..?                                                                 

 ยกตัวอย่าง : องค์ประกอบในการจดทะเบียนจัดตั้งสหภาพแรงงาน  พร้อมคำอธิบาย                                                                                 

20. การแต่งตั้งกรรมการลูกจ้าง ในกรณี บริษัทฯ มีโรงงานหลายแห่ง การนับจำนวนพนักงาน เพื่อแต่งตั้งกรรมการลูกจ้าง

ให้ได้ตาม ส่วน ตามกฎหมายต้องนับจำนวน พนักงานอย่างไร.. ถึงจะแต่งตั้งกรรมการลูกจ้างที่ชอบด้วยกฎหมาย                                                     

ยกตัวอย่าง : บริษัทฯมีโรงงานอยู่ 3 แห่ง ซึ่งเป็นชื่อบริษัทฯเดียวกัน  พร้อมคำอธิบาย                                                                             

21. ทำไม..กรรมการบริหารสหภาพแรงงานต้องพยายามรับตำแหน่งกรรมการลูกจ้าง (คนเดียว ทำหน้าที่ 2 ตำแหน่ง )เพราะอะไร..?   

ยกตัวอย่าง :  การได้รับสิทธิ คุ้มครองทางกฎหมายแรงงานสัมพันธ์  พร้อมคำอธิบาย                                                                             

22. ในระหว่างเจรจาข้อเรียกร้อง นายจ้างต้องการสร้างความกดดันให้สหภาพแรงงาน ต้องดำเนินการอย่างไร..?                         

 ยกตัวอย่าง : นายจ้าง ยื่นข้อเรียกร้องสวน และการกำหนดข้อเรียกร้องของนายจ้าง                                                                                 

23. ในกรณีที่ประธานสหภาพฯ หรือกรรมการลูกจ้าง มีพฤติกรรมดื้อ - ก่อกวน - ชอบสร้างปัญหา - เป็นนักบุกระดม

เพื่อให้เกิดปัญหาในองค์กรบ่อยๆ  ผู้บริหารหรือ HR. จะทำให้หยุดพฤติกรรมได้อย่างไร..?                                                                                                   

ยกตัวอย่าง : การใช้เทคนิคและ วิธีที่จะทำให้ปัญหาหมดไป                                                                                                                     

24. ในระหว่างเจรจาข้อเรียกร้อง พนักงานไม่ทำงานล่วงเวลา (ไม่ทำ OT. ) ในวันทำงานปกติหรือในวันหยุด เพราะมีผู้นำ

แรงงานแนะนำ  ผู้บริหาร - HR.จะกล่าวโทษต้องดำเนินการอย่างไร..?                                                                                                

 ยกตัวอย่าง :  การตรวจสอบข้อมูล - การกำหนดความเสียหายที่เกิดขึ้น – การพิจารณาลงโทษทางวินัย                                                 

25.กรณีสหภาพแรงงานชุมนุมกันหน้าโรงงานและ ปิดถนน ไม่ให้ รถเข้า - ออก นายจ้างส่งสินค้าให้กับลูกค้าไม่ได้จะเอาผิด

สหภาพต้องดำเนินการอย่างไร..?                                                                                                                                                                           

ยกตัวอย่าง : การตรวจสอบความเสียหาย - การพิจารณาเพื่อกำหนดลงโทษ หรือพิจารณาเลิกจ้าง

26. ผู้นำแรงงานชักนำองค์กรสหภาพฯ ไปในทางที่ผิด จะเกิดผลกระทบต่อนายจ้างหรือต่อลูกจ้างอย่างไร..?                                                                                                                

ยกตัวอย่าง :ยกตัวอย่าง : การเกิดผลกระทบต่อนายจ้าง - ผลกระทบต่อลูกจ้าง

                                                                                                                                                                                                                 

               หมวด : 2 คำพิพากษาฎีกา ที่ตัดสินคดี กรรมการสหภาพฯ  กรรมการลูกจ้าง 

26. ประธานสหภาพแรงงานซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้าง ลางาน 3วันเพื่อไปแก้ปัญหาข้อพิพาทแรงงานที่เกิดขึ้นกับลูกจ้างของบริษัทฯ

     มีจุดอ่อนตรงไหน....? ทำไม....? นายจ้างเลิกจ้างได้โดยไม่จ่ายค่าชดเชยใดๆ

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้    พร้อมคำอธิบาย                                                          

 27. ประธานฯ- กรรมการสหภาพฯมีสิทธิลางาน เพื่อทำกิจกรรมของสหภาพแรงงาน ตาม พรบ. 18 ม.120 มีกรณีใดบ้าง

และ บางกิจกรรมลูกจ้างชอบลาโดยไม่มีสิทธิลา  มีกรณีใดบ้า’..?

มีคำพิพากษาฎีกา   ตัดสินคดีนี้  พร้อมคำอธิบาย                                                                                                                                      

28. ศาลจะอนุญาตให้ นายจ้างเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างตาม  มาตรา 52ได้ พิจารณาจากอะไร..?

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้  พร้อมคำอธิบาย                                                                  

 29. สมาชิกของสหภาพแรงงานฯ เมื่อเกิดปัญหาทำไม..? มีสิทธิ มอบอำนาจให้สหภาพแรงงานดำเดินการแทนได้..?

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้  พร้อมคำอธิบาย                                                                                                                                       

30 . ข้อตกลงอันเกิดจาก การยื่นข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงาน ที่นายจ้างให้ กรณีนายจ้าง หรือลูกจ้างร้องขอ

ให้มีการเปลี่ยนแปลง ต้องทำอย่างไร..?

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้  พร้อมคำอธิบาย  

31. นายจ้างมีคำสั่งย้ายกรรมการสหภาพฯ ต่อมาได้มีความยื่นข้อเรียกร้อง ของสหภาพฯเพื่อขอเปลี่ยนแปลง สภาพการจ้าง

ลูกจ้างไม่ไปตามสำสั่งย้ายนายจ้างออกใบเตือน ระหว่างยื่นข้อเรียกร้องทำได้หรือไม่เพราะอะไร..?

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้  พร้อมคำอธิบาย                                                                                                            

 32. พนักงาน 190 คน พละงาน ประท้วงโดยไม่มีการแจ้งข้อเรียกร้องเป็นหนังสือ -ไม่มีการลงชื่อ -ไม่มีการลงรายมือชื่อ

ของลูกจ้าง ที่เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้อง ตาม พรบ.18 มาตรา.13 ลูกจ้างจะมีความผิดอะไรบ้างฯ 

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้  พร้อมคำอธิบาย                                                                                                                                      

33. ลูกจ้างที่เป็นหัวหน้างาน เป็นสมาชิกของ สหภาพแรงงานไม่ได้เพราะอะไร..? มีองค์ประกอบทางกฎหมายย่างไร..?

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้  พร้อมคำอธิบาย                                                                                                              

 34 .กรรมการผู้มีอำนาจ และ ผู้จัดการฝ่ายบุคคล ทำไม..?  เป็นกรรมการลูกจ้างไม่ได้...? เพราะอะไร..?

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้    พร้อมคำอธิบาย  

35.นายจ้างเลิกจ้างกรรมการลูกจ้าง ต้องแจ้งคณะกรรมหารสหภาพฯ หรือไม่ ..?  เพราะอะไร..?  

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย                                                                                                                                        

36. เลิกจ้างกรรมการสหภาพฯ ต้องขออำนาจศาลหรือไม่...? เพราะอะไร..?

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้  พร้อมคำอธิบาย                                                                                                                    

 37. นายจ้างย้ายกรรมการลูกจ้าง ต้องขออำนาจศาลหรือไม่..? เพราะอะไร  

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย  

38. นายจ้างขออำนาจศาลเลิกจ้างกรรมการลูกจ้างตาม  มาตรา 52 เมื่อศาลอนุญาตแล้ว นายจ้างออกหนังสือเลิกจ้าง

ได้เลยหรือไม่ เพราะคดียังไม่สิ้นสุด เพราะอะไร

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบา1ย                                                                                                                     

 39. มีมติของลูกข้างในบริษัทฯ เสียงเกินกึ่งหนึ่ง ปลดกรรมการลูกจ้าง ออกจากตำแหน่ง นายจ้างมีโรงงาน และ สาขา

มีพนักงานอยู่สองแห่ง ต้องนับจำนวนของพนักงานอย่างไร..? ถึงจะทำได้ตามกฎหมาย 

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย                                                                                                                                      

40 .สิทธิในการ นัดชุมนุม - นัดหยุดงาน ของลูกจ้าง ในการยื่นข้อเรียกร้องจะเกิดขึ้นเมือใด ..?

มีคำพิพากษาฎีกา  ตัดสินคดีนี้ พร้อมคำอธิบาย 

  • ถาม - ตอบ - แนะนำ 
  • ผู้เข้าร่วมสัมมนา - นายจ้าง - ผู้บริหาร - ผู้แทนเจรจาข้อเรียกร้อง  
  • ให้คำปรึกษาผู้เข้าร่วมสัมมนา หลังการสัมมนา “ ฟรี ” ตลอดกาลไม่มีค่าใช้จ่าย  

วิทยากร         อาจารย์สมบัติ  น้อยหว้า    วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านแรงงาน
                                   ประวัติการทำงาน / ประสบการณ์

  •  เป็นผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลางกรุงเทพฯ 9 ปี
  • เป็นผู้ไกล่เกลี่ยคดีแรงงานในศาลแรงงานกลางกรุงเทพฯ
  • เป็นกรรมการ (บอร์ด) ค่าจ้างขั้นต่ำ ที่กระทรวงแรงงาน
  • เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน จดทะเบียน ที่กระทรวงแรงงาน
  • เป็นอนุกรรมการประกันสังคม ณ สำนักงานใหญ่  จ. นนทบุรี
  • เป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านแรงงาน จากสถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ.2562
  • เป็นที่ปรึกษาฝ่ายบุคคล บริษัท ดับบลิว เอส เอสรุป (ประเทศไทย) จำกัด
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร 40 ประเด็น เด็ดๆ..ที่ผู้บริหารงานHR.มือใหม่ต้องรู้
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร Updateกฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ที่ใช้ปี2564
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การบริหารงาน-บริหารคนของนายจ้างในบริษัทเอกชน
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร สวัสดิการ-ลงโทษ-เลิกจ้างที่ผู้บริหารและHR.ห้ามพลาด
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร เทคนิคการเจรจาต่อรองข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงาน
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การเขียนสัญญาจ้าง-เขียนระเบียบปฏิบัติ-ประกาศ-คำสั่ง
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การปฏิบัติตนที่ดีขณะเป็นลูกจ้างในสถานประกอบกิจการ
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร เจาะลึก...การสรรหาว่าจ้างพนักงานใหม่เข้าทำงานในองค์กร
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร เลิกจ้างอย่างไร.ไม่ให้เกิดปัญหาลูกจ้างฟ้องศาลแรงงานภายหลัง
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การบริหารและขอบเขตการใช้อำนาจตามหน้าที่ของหัวหน้างาน
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การนำเข้าและจ้างแรงงานต่างด้าวอย่างถูกกฎหมายภายใต้ MOU.
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การจัดทำข้อบังคับในการทำงานให้สอดคล้องกับกฎหมายแรงงาน                
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การบริหารงานกรณีสอบสวนความผิด-ลงโทษทางวินัยหรือเลิกจ้าง
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร Update กฎหมายแรงงานและกฎหมายประกันสังคมที่ใช้ล่าสุดปี2564
  • วิทยากรบรรยายหลักสูตร การเตรียมความพร้อมรับมือ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ปี 2564

 

 

 
 

ค่าใช้จ่ายในการอบรม 

จะทำการส่งเอกสารการบรรยาย ไฟล์ PDF ทางอีเมล์ก่อนอบรม  2-3 วัน  พร้อมรับใบรับรองวุฒิบัตรทางไปรษณีย์

สถานภาพ 

ค่าลงทะเบียน 

ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย  3%

ราคาสุทธิ 

ราคาปกติ ท่านละ 

1,900

133

57

1,976

สมัคร 4 จ่ายแค่ 3 เท่านั้น 5,700 399 171 5,928

 

รายละเอียดหลักสูตรอื่น ๆ  เพิ่มเติมได้ที่นี่  คลิ๊ก  http://www.hrdzenter.com/


สำรองที่นั่ง  ติดต่อเพิ่มเติมได้ที่    


คุณธนนันท์     090 645 0992 , 089 606 0444, Line :  hrdzenter

คุณอิศราภรณ์  089 773 7091

www.hrdzenter.com ,E-mail : hrdzenter@gmail.com

www.facebook.com/hrdzenter,  IG : hrd_zenter 


วิธีการชำระเงิน   เช็คสั่งจ่ายในนาม   บริษัท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด

โอนเงินเข้าบัญชีนาม  บริษัท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด 

>> ธนาคารไทยพาณิชย์  สาขาเซ็นทรัลพลาซาลาดพร้าว บัญชีออมทรัพย์  เลขที่  206-237-1740

(กรุณาส่งสำเนาใบฝากเงิน พร้อมใบสมัครมายังบริษัทเพื่อยืนยันการชำระเงิน และใช้เป็นหลักฐานการสมัครทางอีเมล์  : hrdzenter@gmail.comLine : hrdzenter 

(ผู้เข้าอบรมรับผิดชอบค่าธรรมเนียมการโอนเงินข้ามจังหวัด)

 

 

การแจ้งยกเลิก1. ผู้สมัครสามารถที่จะยกเลิกการเข้าอบรมได้ ในกรณีที่ท่านยกเลิกก่อนวันงาน 10 วัน  โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 

2. กรณีที่ท่านแจ้งยกเลิกก่อนวันสัมมนาก่อนวันงาน 1-7 วัน บริษัทฯ จะหักค่าธุรการ ร้อยละ 30 ของค่าสมัคร 

3.และในกรณีที่ท่านยกเลิกในวันสัมมนาหรือไม่มาตามที่ส่งใบสมัครมาแล้ว   บริษัทฯจะไม่คืนเงินใด ๆ  ทั้งสิ้น   หรือหากท่านยังไม่ชำระค่าสัมมนา  ทางบริษัท ต้องขอเก็บค่าธุรการจำนวน  30 %  ทันที   

 

ขอขอบคุณที่ท่าน ได้ให้โอกาสในการนำเสนอ และหวังเป็นอย่างยิ่งในการให้บริการ เพื่อการพัฒนาบุคลากรในองค์กรของท่าน 


 
 
คลฺีก Download ใบสมัคร
 
 

 

 

อบรม Online  ผ่าน Zoom   พร้อมรับวุฒิบัตรฟรี

 

หลักสูตร 40 ประเด็น เด็ดๆ... นายจ้างและฝ่าย HR  ควรรับมืออย่างไรในช่วงวิกฤตโควิด

 

** เตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ปัจจุบัน **

                

     

วันที่  19 มกราคม 2564  เวลา 13.00-16.00 น.

 

วิทยากร  อาจารย์สมบัติ  น้อยหว้า


 

เฉพาะเดือนมกราคม 64  ราคาพิเศษทุกที่นั่ง  ท่านละ  1,500 บาทเท่านั้น   

(จากราคาปกติท่านละ 2,900 บาท) 

 

 

 

        

หัวข้อการสัมมนา 

                        

1.      การดำรงตนของ ผู้บริหาร - HR. ที่ดีต้องปฏิบัติอย่างไร..?

 2.      การรักษาความลับขององค์กร - การใช้อำนาจตามหน้าที่ - การถ่ายทอดคำสั่ง ผู้บริหาร - HR. ต้องปฏิบัติอย่างไร..?

3.      ปัจจัยหลักที่ทำให้พนักงานรักองค์กร มองเห็นองค์กรมีความเป็นเลิศ - อยากอยู่กับองค์กรนานๆ-ไม่อยากเปลี่ยนงานบ่อยๆ ผู้บริหาร- HR. ต้องดำเนินการอย่างไร..?
4.      การเขียนสัญญาเพื่อจ้างพนักงานทดลองงาน และการเขียนสัญญาจ้างเพื่อจ้างพนักงานที่ผ่านทดลองงาน แต่ละสัญญาจ้าง ต้องกำหนดเงื่อนไขการจ้างระยะเวลาการจ้างแตกต่างกันอย่างไร..?
5.      การบอกเลิกจ้างลูกจ้างทดลองงาน ต้องบอกกล่าวเมื่อใด..? หรือนายจ้างขยายระยะเวลาทดลองงานออกไปอีก เมื่อนายจ้างเลิกจ้างต้องจ่ายค่าอะไรหรือไม่..? เพราะอะไร..?
6.      ทำสัญญาจ้างพนักงาน 11 เดือน เมื่อครบสัญญาจ้างแล้วให้ออก แล้วทำสัญญาจ้างอีก 11 เดือน เมื่อเลิกจ้างตามสัญญากฎหมายคุ้มครองลูกจ้างอย่างไร..? นายจ้างต้องจ่ายค่าอะไรหรือไม่..?
7.      7 ประการที่ลูกจ้างได้รับ สิทธิตามกฎหมาย คุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ที่มีผลบังคับใช้ล่าสุดปี 2562 มีอะไรบ้าง
8.      พบปัญหาพนักงาน - เข้า - ออกงาน บ่อยๆ ผู้บริหาร- HR.จะแก้ปัญหาอย่างไร..? จะวิเคราะห์จุดแข็ง - จุดอ่อนระหว่างองค์กร กับพนักงาน อย่างไร..?
9.      ปัญหาที่ทำให้พนักงาน ทำผิดวินัยบ่อยๆ มาจากอะไร..?  มีจุดอ่อนตรงไหน

 10.   การแก้ปัญหาเพื่อป้องกันมิให้พนักงานทำผิดวินัยบ่อยๆ ผู้บริหาร-HR. ต้องดำเนินการอย่างไร..?
11.   การกำหนดเงื่อนไขการจ่ายเงินโบนัสประจำปีให้กับพนักงาน นายจ้างต้องกำหนดเงื่อนไข ในการจ่ายอย่างไร..?  (เพราะเงินโบนัสที่ลูกจ้างได้รับคือ เงินที่ลูกจ้างได้รับโดยเหงื่อไม่ออก)
12.   การแก้ไข - เปลี่ยนแปลง ข้อบังคับ ในการทำงานให้สอดคล้องกับกฎหมายใหม่ ผู้บริหาร - HR.ต้องดำเนินการอย่างไร..?
13.   กรณีมีพนักงาน เข้าร้องทุกข์ต่อพนักงานตรวจแรงงาน ผู้บริหาร - HR.ต้องเตรียมข้อมูล -นโยบายของนายจ้างเพื่อนำเสนอในการไกล่เกลี่ย ให้ปัญหาหมดไปได้อย่างไร..?
14.   นายจ้างมีนโยบายเลิกจ้างพนักงานก่อนวันเกษียณงาน ตามข้อบังคับในการทำงานต้องทำอย่างไร..?        (ให้ออกโดยไม่ผิดกฎหมายคุ้มครองแรงงาน)
15.   พนักงานเกษียรงานแล้ว นายจ้างต้องการจ้างให้ทำงานอีก - ต้องทำสัญญาจ้าง - กำหนดเงื่อนไขการจ้าง - กำหนดค่าจ้าง - ค่าสวัสดิการ ต่อลูกจ้างอย่างไร..?
16.   วันหยุดตามประเพณีได้กำหนดและประกาศไปแล้ว นายจ้าง - ลูกจ้าง ต้องการเปลี่ยนไปหยุดในวันอื่น (สลับวันหยุด) ผู้บริหาร - HR.ต้องดำเนินการอย่างไร..?
17.   นายจ้างได้กำหนดให้วันหยุดประจำสัปดาห์ คือ วันอาทิตย์ เมื่อเปลี่ยนนายจ้างใหม่เปลี่ยนนิติบุคคล และมีนโยบายให้เปลี่ยนวันหยุดประจำสัปดาห์ จากวันอาทิตย์ไปเป็นวันอื่น ต้องทำอย่างไร..? กรณีลูกจ้างไม่ยินยอมทำได้หรือไม่..? เพราะอะไร...?
18.   กรณีลูกจ้างนำรถยนต์ ส่วนตัวมาใช้บริการในการทำงาน ให้กับนายจ้าง จะได้รับ ค่าเสื่อมรถยนต์ จากนายจ้างอย่างไร..?
19.   จัดรถนำเที่ยวให้กับพนักงาน เพื่อไปพักผ่อนประจำปี - ค่ารถ – ค่าอาหาร - ค่าเครื่องดื่ม - ค่าที่พักนายจ้างออกให้ทั้งหมด กรณีมีพนักงานชกต่อยกันจนได้รับบาดเจ็บ นายจ้างมีสิทธิลงโทษตามระเบียบวินัย ได้หรือไม่  (เพราะเป็นสถานที่และนอกเวลาทำงานให้กับนายจ้าง)
20.   หลังเลิกงานนายจ้างจัดงานเลี้ยงประจำปีที่ร้านอาหารให้กับพนักงาน มีพนักงานเมาจำหน้ากันไม่ได้ชกต่อยกันในงานเลี้ยง นายจ้างมีสิทธิลงโทษตามระเบียบวินัยได้หรือไม่..? (เพราะเป็นสถานที่และนอกเวลาทำงานให้กับนายจ้าง)
21.   จ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงให้กับพนักงานที่ทำงานในประเทศและต่างประเทศ กฎหมายกำหนดให้ จ่ายวันละเท่าไร..? ต้องนำไปหักภาษีด้วยหรือไม่ - เพราะอะไร..?
22.   พนักงานมาทำงาน สายบ่อยๆ จะจัดการกับปัญหานี้ ให้หมดไปได้อย่างไร..?
23.   ประเภทลางานไม่ถูกระเบียบบ่อยๆ หัวหน้างาน ยังไม่อนุมัติการลาก็หยุดงานไป -โทรลางาน -ไลน์ลางาน - ฝากเพื่อนลางาน - ลาย้อนหลังจนเป็นอาจิณ - ผู้บริหาร - HR. จะออกกฎเหล็กอะไรได้บ้าง
24.   ภายในปีชอบลาป่วยเพื่อเอายอด  -ป่วยวันเดียว - ป่วยทุกอาทิตย์ - ป่วยไม่จริง ผู้บริหาร - HR.  จะมีวิธีป้องกันอย่างไร..? จะตรวจสอบการลาป่วยเท็จเพื่อลงโทษวิธีใด..?
25.   หัวหน้างานอนุมัติการลาไม่ถูกระเบียบบ่อยๆผู้บริหาร- HR.จะตรวจสอบ และลงโทษหัวหน้างานอย่างไร..? (โดยพฤติกรรมชอบเอาความถูกใจไว้เหนือความถูกต้อง)
26.   กรณีมีพนักงานเข้าร้องทุกข์ต่อ HR.ให้เหตุผลว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการประเมินผลงานประจำปี จะใช้เทคนิคอย่างไร..? ให้ปัญหายุติลง
27.   พนักงานปฏิบัติตนไม่เหมาะสม ชอบทำผดวินัยบ่อยๆ ก่อนจะมีคำสั่งย้ายหน่วยงานไปอยู่ที่ที่ควรจะอยู่ ต้องเตรียมข้อมูล - ตรวจสอบหลักฐานอะไรบ้าง..?
28.   ลูกจ้างที่ไม่มีสิทธิได้รับ - ค่าล่วงเวลา และค่าทำงานในวันหยุดมีตำแหน่งอะไรบ้าง..? กรณีที่ตำแหน่งงานที่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา ทำงานเกินวันละ 1-2 ชั่วโมง HR.ต้องทำอย่างไร..?
29.   รับลูกจ้างเข้าทำงานด้วยวาจา - ด้วยลายลักษณ์อักษร - บอกเลิกจ้างด้วยวาจา - ด้วยลายลักษณ์อักษร - ด้วยทางโทรศัพท์ - ด้วยทางไลน์ - ด้วยทางอีเมลย์ กรณีดังกล่าวนายจ้างได้ปฏิบัติต่อลูกจ้างสิ่งใดมีผลบังคับใช้ได้ตามกฎหมายแรงงาน เพราะอะไร..?
30.   ทำงานได้รับความเสียหายนายจ้างไม่เลิกจ้างต้องการให้ชดใช้ค่าเสียหาย กฎหมายได้บัญญัติไว้ห้ามมิให้นายจ้างหักค่าจ้างลูกจ้าง  ผู้บริหาร - HR.จะใช้เทคนิคอย่างไร..? เพื่อให้ลูกจ้างได้ชำระค่าเสียหายที่เกิดขึ้น
31.   กรณีมีพนักงานร่วมกันชุมนุมกดดันนายจ้างเพื่อให้จ่ายค่าสวัสดิการตามต้องการ ผู้บริหาร - HR.หัวหน้างาน - จะเผด็จศึกกับปัญหาที่เกิดขึ้นให้ยุติลงได้อย่างไร..?
32.   ลูกจ้างลาออกจากงานต่อหัวหน้างานจะมีผลเมื่อใด..? หรือเมื่อใบลาออกไปถึงผู้บริหารที่เป็นผู้มีอำนาจทราบแล้วแต่ยังไม่อนุมัติการลาออก - วันต่อมาลูกจ้างขอยกเลิกการลาออก กฎหมายให้สิทธิต่อนายจ้าง - หรือต่อลูกจ้างอย่างไร..?
33.   ลูกจ้างลาออก - วันหยุดพักผ่อนประจำปี - วันลากิจได้รับค่าจ้าง เมื่อสิ้นปีไม่ได้ใช้หรือใช้ไม่หมดลูกจ้างจะได้รับสิทธิอย่างไร..? กรณียังไม่ลาออกจะได้รับสิทธิอย่างไร..?
34.   ในระหว่างเป็นลูกจ้างแอบไปทำงาน หรือ ชอบแอบเอาความลับทางการค้าของนายจ้างไปเปิดเผยให้กับคู่แข่งทางการค้าของนายจ้าง นายจ้างจะเอาผิดอะไรได้บ้าง...?
35.   ทำความเสียหายแล้วออกจากงานไป นายจ้างยึดเงินประกันการทำงาน - ยึดเงินค่าจ้าง - เพื่อชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้น นายจ้างทำได้หรือไม่..? เพราะไร..?
36.   ลูกจ้างยื่นใบลาออกต่อมาไม่มาทำงานหายไปเลย ออกจากงานก่อนครบ 30 วัน ตามสัญญาจ้าง-ตามข้อบังคับในการทำงาน นายจ้างจะเอาผิดอะไรได้บ้าง..? เพราะอะไร..?
37.   องค์ประกอบที่นายจ้างพิจารณาความผิด เป็นกรณีร้ายแรงหรือไม่ร้ายแรง พิจารณาจากอะไร..? เพราะจะมีผลต่อการออกใบเตือน - สั่งพักงาน - เลิกจ้างเพื่อให้สิ้นสภาพจากการเป็นลูกจ้าง
38.   การออกใบเตือนเขียนข้อความให้ครอบคลุมความผิด -ให้มีผลตามกฎหมาย -ให้มีผลต่อการผิดซ้ำคำเตือนต้องมีข้อความอย่างไร..? กรณีไม่เซ็นรับใบเตือน ผู้บริหาร- HR. จะจัดการอย่างไร..?
39.   การออกหนังสือเลิกจ้าง - เขียนให้ดี -ให้มีผลต่อการนำเสนอ และ ขยายความ ต่อศาลได้ ต้องมีข้อความอย่างไร..? ต้องอ้างอิงอะไรบ้าง..?
40.   เมื่อออกจากงาน - ลาออก - ละทิ้งหน้าที่ - สิ้นสุดระยะเวลาการจ้าง -ไม่ผ่านทดลองงาน - เกษียรงานตามโครงการ - ถูกไล่ออก - ปลดออก -ให้ออก กรณีดังกล่าว ลูกจ้างจะได้รับสิทธิการประกันการว่างงาน จากสำนักงานประกันสังคมอย่างไร..?

 

  • ถาม - ตอบ - แนะนำ
  • ผู้เข้าร่วมสัมมนา - นายจ้าง - ผู้บริหาร - HR. - บุคคลทั่วไป
  • ให้คำปรึกษาผู้เข้าร่วมสัมมนา หลังการสัมมนา “ฟรี” ตลอดกาล ไม่มีค่าใช้จ่าย 
  • วิทยากร         อาจารย์สมบัติ  น้อยหว้า
          

    ประวัติการทำงาน / ประสบการณ์
       • เป็นผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลางกรุงเทพฯ 9  ปี  (4 สมัย)
       • เป็นผู้ประนอมคดีในชั้นศาลแรงงานกลาง กรุงเทพ

       • เป็นกรรมการ (บอร์ด) ค่าจ้างขั้นต่ำที่กระทรวงแรงงาน
       • เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน จดทะเบียนที่กระทรวงแรงงาน
       • เป็นอนุกรรมการประกันสังคม สำนักงานใหญ่ จ.นนทบุรี
       • เป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคล บริษัท ดับบลิว เอส เอส กรุ๊ป ประเทศไทย จำกัด

       • เป็นวิทยากรบรรยายหลักสูตร การกล่าวโทษ-เลิกจ้าง-ต่อสู้ให้ชนะคดีในศาล
       • เป็นวิทยากรบรรยายหลักสูตร ขอบเขตการใช้อำนาจตามหน้าที่ของหัวหน้างาน
       • เป็นวิทยากรบรรยายหลักสูตร การจ้างแรงงานต่างด้าวอย่างถูกกฎหมายภายใต้ MOU

       • เป็นวิทยากรบรรยายหลักสูตร เทคนิคการเจรจาต่อรอง ข้อเรียกร้องของสหภาพแรงงาน
       • เป็นวิทยากรบรรยายหลักสูตร Update กฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ ที่มีผลบังคับใช้ล่าสุด ปี 2562

     

     

     

     

    ค่าใช้จ่ายในการอบรม 

    รวมค่าเอกสารประกอบการอบรม ค่าอาหารว่าง 2 มื้อ อาหารกลางวัน 1 มื้อ   

    รับของที่ระลึกจากสถาบันและใบรับรองวุฒิบัตร


    สถานภาพ 

    ค่าลงทะเบียน 

    ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%

    ภาษีหัก ณ ที่จ่าย  3%

    ราคาสุทธิ 

    ราคาพิเศษ ท่านละ 

    1,500

    105

    45

    1,560

     

    รายละเอียดหลักสูตรอื่น ๆ  เพิ่มเติมได้ที่นี่  คลิ๊ก  http://www.hrdzenter.com/


    สำรองที่นั่ง  ติดต่อเพิ่มเติมได้ที่    


    คุณธนนันท์     090 645 0992 , 089 606 0444, Line :  hrdzenter

    www.hrdzenter.com ,E-mail : hrdzenter@gmail.com

    www.facebook.com/hrdzenter,  IG : hrd_zenter 


    วิธีการชำระเงิน   เช็คสั่งจ่ายในนาม   บริษัท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด

    โอนเงินเข้าบัญชีนาม  บริษัท ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำกัด 

    >> ธนาคารไทยพาณิชย์  สาขาเซ็นทรัลพลาซาลาดพร้าว บัญชีออมทรัพย์  เลขที่  206-237-1740

    (กรุณาส่งสำเนาใบฝากเงิน พร้อมใบสมัครมายังบริษัทเพื่อยืนยันการชำระเงิน และใช้เป็นหลักฐานการสมัครทางอีเมล์  : hrdzenter@gmail.comLine : hrdzenter 

    (ผู้เข้าอบรมรับผิดชอบค่าธรรมเนียมการโอนเงินข้ามจังหวัด)

     

     

    การแจ้งยกเลิก1. ผู้สมัครสามารถที่จะยกเลิกการเข้าอบรมได้ ในกรณีที่ท่านยกเลิกก่อนวันงาน 10 วัน  โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 

    2. กรณีที่ท่านแจ้งยกเลิกก่อนวันสัมมนาก่อนวันงาน 1-7 วัน บริษัทฯ จะหักค่าธุรการ ร้อยละ 30 ของค่าสมัคร 

    3.และในกรณีที่ท่านยกเลิกในวันสัมมนาหรือไม่มาตามที่ส่งใบสมัครมาแล้ว   บริษัทฯจะไม่คืนเงินใด ๆ  ทั้งสิ้น   หรือหากท่านยังไม่ชำระค่าสัมมนา  ทางบริษัท ต้องขอเก็บค่าธุรการจำนวน  30 %  ทันที   

     

    ขอขอบคุณที่ท่าน ได้ให้โอกาสในการนำเสนอ และหวังเป็นอย่างยิ่งในการให้บริการ เพื่อการพัฒนาบุคลากรในองค์กรของท่าน 


     
     
    คลฺีก Download ใบสมัคร
     
     
     
    Online:  1
    Visits:  4,923,277
    Today:  195
    PageView/Month:  26,279